1. สภาพทางกายภาพของชุมชน
ที่ตั้ง ตำบลศรีภูมิ เดิมอยู่ในเขตการปกครองของตำบลตาลชุมและตำบลป่าคา และได้แยกการปกครอง
เป็นตำบลศรีภูมิในปี2525ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลจากกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบันโดยห่างจากตัวจังหวัดน่านไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง38กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าวังผาไปทางทิศใต้ เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบัน โดยห่างจากตัวจังหวัดน่านไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง 38 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าวังผาไปทางทิศใต้ เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบัน โดยห่างจากตัวจังหวัดน่านไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง
38 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าวังผาไปทางทิศใต้ เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ปัจจุบัน โดยห่างจากตัวจังหวัดน่านไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง 38 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าวังผาไปทางทิศใต้
เป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร
อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลจอมพระ อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลบ่อ อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
สภาพภูมิประเทศ
ตำบลศรีภูมิมีพื้นที่ทั้งหมด จำนวน 53,281 ไร่ หรือ 83 ตารางกิโลเมตร
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลาดเอียงมีภูเขาไปทางทิศตะวันตกของตำบล สำหรับบริเวณที่อยู่อาศัย ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีแม่น้ำไหลผ่านตั้งแต่หมู่ที่ 1,2,10,12,4,9,5 ตามลำดับซึ่งลักษณะภูมิประเทศภายในตำบลสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ
ดังนี้ มีแม่น้ำไหลผ่านตั้งแต่หมู่ที่ 1,2,10,12,4,9,5 ตามลำดับซึ่งลักษณะภูมิประเทศภายในตำบลสามารถแบ่งได้
เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้มีแม่น้ำไหลผ่านตั้งแต่หมู่ที่ 1,2,10,12,4,9,5 ตามลำดับซึ่งลักษณะภูมิประเทศภายในตำบลสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้มีแม่น้ำไหลผ่านตั้งแต่หมู่ที่ 1,2,10,12,4,9,5 ตามลำดับซึ่งลักษณะภูมิประเทศภายในตำบลสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. พื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำ มีจำนวนร้อยละ 9.39 ของพื้นที่ทั้งหมด
2. พื้นที่ดอนหรือพื้นที่ราบ มีจำนวนร้อยละ 13.04 ของพื้นที่ทั้งหมด
3. พื้นที่ดอนสูงหรือพื้นที่สูง มีจำนวนร้อยละ 77.57 ของพื้นที่ทั้งหมด
สภาพทางเศรษฐกิจ
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ราบริมฝั่งแม่น้ำน่านที่มีความเหมาะสมสำหรับการทำนาข้าว
โดยใช้ระบบน้ำชลประทานจากแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเอง เช่น ฝาย
อ่างเก็บน้ำ และบางพื้นที่ใช้น้ำจากการสูบด้วยเครื่องยนต์บ้าง
ประชาชนมีรายได้เฉลี่ย 47,300.90 บาท/คน/ปี ในปี2554 (ข้อมูลจาก จปฐ.ปี 2556) ตารางที่
2.1 แสดงพืชเศรษฐกิจหลัก ย้อนหลัง 5 ปี ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
จังหวัดน่าน ปี 2555
ลำดับที่
|
พืชที่ปลูก
|
พืชที่ปลูก(ไร่)
|
ผลผลิตที่ได้(เฉลี่ย) (กก.)
|
รายได้(บาท)
|
ครัวเรือนที่ปลูก
|
1
|
ข้าวนาปี
|
2,958
|
650
|
28,840,500
|
772
|
2
|
ข้าวไร่
|
1,096
|
350
|
3,836,000
|
298
|
3
|
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
|
1,862
|
800
|
8,937,600
|
498
|
4
|
พืชผัก
|
230
|
2,000
|
1,380,000
|
92
|
5
|
มะม่วง
|
39
|
300
|
58,500
|
24
|
6
|
ลำไย
|
1,266
|
350
|
4,431,000
|
328
|
7
|
ลิ้นจี่
|
858
|
600
|
6,177,600
|
192
|
8
|
ยางพารา
|
1,239
|
-
|
-
|
65
|
9
|
ไผ่รวก
|
870
|
500
|
4,350,000
|
238
|
- ด้านการเกษตร
- อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่ใช้แรงงานคนในครอบครัวเป็นหลัก
ซึ่งมีอุตสาหกรรมตามทำเนียบ
โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 9 แห่ง อุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น โรงสีข้าว เป็นต้น
- พาณิชยกรรม
ตำบลศรีภูมิ
มีกิจการด้านพาณิชยกรรม อยู่ประมาณ 48 แห่ง
ส่วนใหญ่เป็นร้านขายของชำและของใช้เบ็ดเตล็ดที่ให้บริการในหมู่บ้านหรือชุมชน
รองลงมาเป็นร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม 4 แห่งใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
- แหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลาบ้านดอนมูล หมู่ที่2 ตำบลศรีภูมิอยู่ติดกับเส้นทางสบสาย–เชียงแล - ห่างจากที่ว่าการอำเภอท่าวังผา ประมาณ 5 กิโลเมตร ซึ่งได้มีการอนุรักษ์พันธุ์ปลาหลายชนิด
- ป่าไม้ซึ่งได้สำรวจและดำเนินการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาตินันทบุรี
- อุทยานแห่งชาตินันทบุรี (ดอยวาว) ที่สวยงามบริเวณบ้านดอยติ้ว หมู่ที่ 8 ตำบลศรีภูมิ
หมู่บ้านในตำบลศรีภูมิ
หมู่ที่
|
ชื่อหมู่บ้าน
|
การปกครอง
|
รายชื่อผู้นำชุมชน
|
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
|
บ้านม่วง
บ้านดอนมูล
บ้านห้วยเดื่อ
บ้านดอนตัน
บ้านนาอุดม
บ้านคัวะ
บ้านดอยติ้ว
บ้านห้วยม่วง
บ้านขอน
บ้านดอนตัน
2
บ้านดอนทอง
บ้านดอนตัน
3
|
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
กำนัน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน
|
นายสำเนียง ส่างคำ
นายสมศักดิ์ จันต๊ะนุ
นายบุญช่วย สุทธะ
นายผจญ กันทะ
นายกิตติศักดิ์ สุเดช
นายธวัช อุทธิยา
นายสรศักดิ์ แซ่เฮ้อ
นายเมฆ อินกอง
นายสมนึก กันทะ
นายลิขิต วิชา
นายอาวรณ์ อุทธิยา
นายเศวต นันท์ชัย
|
สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 2 แห่ง
- สถานบริการสาธารณสุขชุมชน จำนวน 1 แห่ง
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
สถานที่ตั้ง
|
พื้นที่บริการ
|
1
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านดอนตัน
|
บ้านดอนตัน
หมู่ที่ 12
|
บ้านม่วง
บ้านห้วยเดื่อ บ้านดอนตัน 1 บ้านดอนตัน 2 บ้านดอนตัน 3
|
2
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านควัะ
|
บ้านดอนทอง หมู่ที่ 11
|
บ้านดอนมูล
บ้านนาอุดม บ้านคัวะ บ้านห้วยม่วง บ้านขอน บ้านดอนทอง
|
3
|
สถานบริการสาธารณสุขชุมชนบ้านดอยติ้ว
|
บ้านดอยติ้ว หมู่ที่ 7
|
บ้านดอยติ้ว
|
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ตำบลศรีภูมิ
เป็นชุมชนที่มีความสงบเรียบร้อย
ไม่ค่อยมีคดีที่อุจฉกรรจ์ และอยู่ในเขตการดูแลของสถานีตำรวจภูธรตาลชุม
การคมนาคม
1. ถนนลาดยาง 4 แห่ง ได้แก่
-
ถนนลาดยางสายน่าน
– ทุ่งช้าง ผ่าน หมู่ที่ 3
- ถนนลาดยางสาย วรนคร ผ่าน หมู่ที่ 1 ,หมู่ 4 , หมู่ 10 , หมู่ 12
- ถนนลาดยางสายสบสาย – เชียงแล ผ่าน หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 5 , หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 9 , หมู่ที่
11
- ถนนลาดยางสายตำบลแสนทอง-สบขุ่น ผ่านหมู่ที่ 7
2. ถนนลูกรัง 1 แห่ง จากหมู่ที่ 5 ถึงหมู่ที่ 8
2.
สภาพทางสังคม
สภาพสังคม
ประชากรตำบลศรีภูมิ มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย อุปนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โอบอ้อมอารี ตั้งชุมชนอยู่เป็นกลุ่ม มีความสัมพันธ์กันแบบเครือญาติ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชน ผู้คนมีความสามัคคียึดมั่นในวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นและวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญ เช่น แข่งเรือยาว
3.
ประชากร
ประชากรจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,616 คน
แยกเป็นชาย จำนวน 3,297 คน เป็นหญิง 3,319 และจำนวนหลังคาเรือน 1,822 หลังคาเรือน
หมู่ที่
|
บ้าน
|
ชาติพันธุ์
|
จำนวน
|
รวม
|
หลังคาเรือน
|
|
ชาย
|
หญิง
|
|||||
1
|
ม่วง
|
พื้นเมือง
|
312
|
346
|
658
|
199
|
2
|
ดอนมูล
|
ไทลื้อ
|
281
|
314
|
595
|
181
|
3
|
ห้วยเดื่อ
|
พื้นเมือง
|
193
|
195
|
388
|
135
|
4
|
ดอนตัน
|
พื้นเมือง
|
296
|
299
|
595
|
199
|
5
|
นาอุดม
|
พื้นเมือง
|
157
|
158
|
315
|
96
|
6
|
คัวะ
|
พื้นเมือง
|
389
|
359
|
748
|
216
|
7
|
ดอยติ้ว
|
ม้ง
|
754
|
683
|
1,437
|
247
|
8
|
ห้วยม่วง
|
พื้นเมือง
|
132
|
114
|
246
|
79
|
9
|
ขอน
|
พื้นเมือง
|
90
|
110
|
200
|
69
|
10
|
ดอนตัน 2
|
พื้นเมือง
|
194
|
214
|
408
|
134
|
11
|
ดอนทอง
|
พื้นเมือง
|
290
|
316
|
606
|
160
|
12
|
ดอนตัน 3
|
พื้นเมือง
|
219
|
316
|
453
|
156
|
รวม
|
3,307
|
3,342
|
6,649
|
1871
|
ข้อมูลผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลศรีภูมิ
หมู่ที่
|
บ้าน
|
จำนวน
|
|||||||||
ผู้สูงอายุ
|
ผู้พิการ
|
||||||||||
1
|
ม่วง
|
120
|
19
|
||||||||
2
|
ดอนมูล
|
116
|
11
|
||||||||
3
|
ห้วยเดื่อ
|
58
|
6
|
||||||||
4
|
ดอนตัน
|
116
|
14
|
||||||||
5
|
นาอุดม
|
52
|
5
|
||||||||
6
|
คัวะ
|
111
|
17
|
||||||||
7
|
ดอยติ้ว
|
52
|
22
|
||||||||
8
|
ห้วยม่วง
|
25
|
6
|
||||||||
9
|
ขอน
|
33
|
8
|
||||||||
10
|
ดอนตัน 2
|
60
|
4
|
||||||||
11
|
ดอนทอง
|
98
|
6
|
||||||||
12
|
ดอนตัน 3
|
65
|
11
|
||||||||
รวม
|
906
|
129
|
|||||||||
ที่
|
หน่วยงาน/องค์กร
|
สิ่งที่ได้รับการสนับสนุน
|
1
|
องค์การบริหารส่วนตำบลศรีภูมิ
|
- อาคาร สถานที่
/ประสานงาน
- จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
2
|
โรงเรียนบ้านตอนตัน
|
- อาคาร สถานที่
/ประสานงาน
- จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
3
|
โรงเรียนบ้านคัวะ
|
- อาคาร สถานที่
/ประสานงาน
- จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
4
|
โรงเรียนพัฒนานิคมวิทยา
|
-
อาคาร สถานที่ /ประสานงาน
- จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
5
|
โรงสีข้าวพระราชทานฯ
|
- อาคาร สถานที่ /ประสานงาน -
จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน/การประชาสัมพันธ์ กศน.
|
6
|
บ้านพักโฮมสเตย์
|
- อาคาร สถานที่
/ประสานงาน
- จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- ประสานงาน/การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
7
|
วัดทุกแห่งในตำบลศรภูมิ
|
-
จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- ประสานงาน/การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
8
|
ศูนย์ OTOP
ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ
|
- อาคาร สถานที่ /ประสานงาน
-
จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- ประสานงาน/การประชาสัมพันธ์
กศน.
|
9
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำ
ตำบล บ้านดอนตัน
|
-
จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
- วิทยากรให้ความรู้
|
10
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำ
ตำบล บ้านคัวะ – ดอนทอง
|
-
จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
-
วิทยากรให้ความรู้
|
ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น
|
ประเภทแหล่งเรียนรู้
|
ที่อยู่
|
แพทย์แผนโบราณ
|
รักษาฟันด้วยสมุนไพรแผนโบราณ
|
บ้านดอนมูล หมู่ที่
๒ ต.ศรีภูมิ
|
กลุ่ม
OTOP
|
ทอผ้าไทลื้อย้อมสีธรรมชาติ
|
บ้านดอนมูล หมู่ที่
๒ ต.ศรีภูมิ
|
วิหารไทลื้อ
|
โบราณสถานเก่าแก่
มีอายุ ๒๐๐ ปี
|
บ้านดอนมูล หมู่ที่
๒ ต.ศรีภูมิ
|
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
|
ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
|
บ้านดอนมูล หมู่ที่
๒ ต.ศรีภูมิ
|
พิพิธภัณฑ์บ้านไทลื้อ
|
พิพิธภัณฑ์บ้านไทลื้อ
|
บ้านดอนมูล หมู่ที่
๒ ต.ศรีภูมิ
|
กลุ่มจักสานหวาย
|
กลุ่มจักสานหวาย
|
บ้านดอนตัน หมู่ที่
๑๒ ต.ศรีภูมิ
|
โรงสีข้าวพระราชทาน
|
โรงสีข้าวพระราชทานฯ
|
บ้านห้วยเดื่อ
หมู่ที่ ๓ ต.ศรีภูมิ
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ที่
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
|
อายุ
|
ความสามารถและประสบการณ์
|
ที่อยู่
|
๑
|
นางศรีคำ วงคูไทย
|
65
|
แพทย์แผนไทยสมุนไพรบำบัด
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๒
|
นายผัด อุทธิยา
|
77
|
ดนตรีพื้นบ้านประเภทพิณ
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๓
|
นายแก้ว แก้วควัน
|
76
|
ดนตรีพื้นบ้านประเภทพิณ
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๔
|
นายปั๋น ใจไหว
|
77
|
งานจักสานตะกร้าไม้ไผ่
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๕
|
นายข้อ ใจไหว
|
75
|
งานจักสาน
ตะกร้าไม้ไผ่
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๖
|
นายเสน่ห์ อุทธิยา
|
54
|
งานจักสานหวาย
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๗
|
นางบุญอยู่ นันท์ชัย
|
56
|
งานจักสานหวาย
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๘
|
นางยอดหล้า วงค์ทัย
|
55
|
การย้อมผ้าสีธรรมชาติ
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๙
|
นางสาวลำไย วงค์ไทย
|
49
|
ทอผ้าลายไทลื้อ
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๑๐
|
นางฮวย วงค์ไทย
|
47
|
งานจักสานหวาย
|
บ้านม่วง หมู่ที่ ๑ ต.ศรีภูมิ
|
๑๑
|
นางกิ่งแก้ว นันท์ชัย
|
57
|
งานจักสานหวาย
|
บ้านดอนตัน
หมู่ที่ ๑๒ ต.ศรีภูมิ
|
๑๒
|
นายวิรัช
สุภา
|
78
|
หมอสู่ขวัญ
|
บ้านม่วง
หมู่ที่ ๑ ต.ศรีภูมิ
|
๑๓
|
นายประสงค์ คำยวง
|
57
|
หมอสู่ขวัญ
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
๑๔
|
นายสุนทร ศิริกันชัย
|
60
|
หมอผี
|
บ้านดอนมูล
หมู่ที่ ๒ ต.ศรีภูมิ
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น